วารสารทดสอบศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (ใช้ทดสอบระบบเท่านั้น)
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo
<p>วารสารทดสอบระบบ ThaiJo2 ทำขึ้นเพื่อประกอบการฝึกอบรมการใช้งานระบบ <a href="https://github.com/pkp/ojs">Open Journal Systems</a><a href="https://github.com/pkp/ojs"> (OJS3)</a></p> <p><strong>Print ISSN</strong>: 1513-5217</p> <p><strong>Online ISSN</strong>: 1365-2575</p> <p><strong>นโยบายและขอบเขตการตีพิมพ์ :</strong><span style="font-weight: 400;"> วารสารฯ มีนโยบายรับตีพิมพ์บทความคุณภาพสูงในด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์, เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ และวิทยาศาสตร์การอาหารและเทคโนโลยี โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือคณาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัยทั้งในและนอกสถาบัน</span></p>
ทดสอบการใช้งานเว็บ
th-TH
วารสารทดสอบศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (ใช้ทดสอบระบบเท่านั้น)
<p>test</p>
-
[RETRACTED ARTICLE] Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/240537
<p id="p0010">This article has been retracted at the request of the Editor-in-Chief.</p> <p id="p0015"><strong>Reason for retraction:</strong> The authors have plagiarized part of a paper that had already appeared in <em>Journal of Demo ThaiJO 2022, Vol. 10 No. 8, pp.189–205</em>. One of the conditions of submission of a paper for publication is that authors declare explicitly that their work is original and has not appeared in a publication elsewhere. Re-use of any data should be appropriately cited. As such this article represents a severe abuse of the scientific publishing system. The scientific community takes a very strong view on this matter and apologies are offered to readers of the journal that this was not detected during the submission process.</p> <p>Th<span style="font-size: 0.875rem; font-family: 'Noto Sans', 'Noto Kufi Arabic', -apple-system, BlinkMacSystemFont, 'Segoe UI', Roboto, Oxygen-Sans, Ubuntu, Cantarell, 'Helvetica Neue', sans-serif;">e Editor apologizes to the readership for any inconvenience caused.</span></p>
Aaron Fiona
Copyright (c) 2023 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2023-07-30
2023-07-30
22 3
49
61
-
วาริชศาสตร์ ไพลินบอดี้ คูลเลอร์ซื่อบื้อพ่อค้าไลฟ์ สปิริตขั้นตอน
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/222183
<p>วาริชศาสตร์</p>
Somchai Eff Rakkhan
Copyright (c) 1970 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-06-02
2023-06-02
22 3
23
35
-
อินดอร์มอบตัวช็อปปิ้งไฮบริด เวิร์กกรุ๊ปเวิร์คเบนโตะ
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/214547
<p>อผ</p>
Jed Kardos
Copyright (c) 1970 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-04-19
2023-04-19
22 3
36
48
-
ท1
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/240686
<p>111</p>
1
Copyright (c) 2023
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2023-11-01
2023-11-01
22 3
-
นก
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/240300
<p><big>นก</big> บางชนิดบินได้สูงมาก <big>นก</big>ที่บินได้สูงที่สุดคือห่าน ซึ่งบินได้สูง กว่า ๒๙,๐๐๐ ฟุต เคยปรากฏว่า<big>นก</big>คอนดอร์ (condor) ในอเมริกาใต้บินชน กับเครื่องบินที่บินอยู่สูง ๒๐,๐๐๐ ฟุต <big>นก</big>ทั่วๆ ไปบินไม่สูงเกินกว่า ๓,๐๐๐ ฟุต ในขณะอพยพย้ายถิ่น <big>นก</big>มักบินต่ำกว่าเมฆที่ลอยอยู่ต่ำสุด ไม่บินสูง ขึ้นไปมากกว่านั้น<br /><br />แม้ว่า <big>นก</big>ส่วนมากจะเป็น<big>นก</big>ที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน แต่ก็มี<big>นก</big>จำนวนไม่น้อยที่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ใกล้น้ำ และอาจว่ายน้ำ หรือดำน้ำได้ดี <big>นก</big>ที่ได้ชื่อว่าว่ายน้ำเก่งที่สุด ได้แก่ <big>นก</big>ลูน (loon) ซึ่งเป็น<big>นก</big>ที่มีรูปร่างคล้ายเป็ด แต่มีปากแหลม อาศัยอยู่ในแถบขั้วโลกเหนือ <big>นก</big>ลูนอาจดำลงไปใต้น้ำไล่ จับปลากินเป็นอาหาร <big>นก</big>แกนเนต (gannet) ซึ่งเป็น<big>นก</big>น้ำอีกชนิดหนึ่ง เป็น<big>นก</big>ที่อาจดำน้ำได้เก่งอย่างยอดเยี่ยม <big>นก</big>แกนเนตอาจดำน้ำได้ลึกถึง ๖๐ หรือ ๑๐๐ ฟุต</p> <p><img src="https://saranukromthai.or.th/pictures1/s1-102-2.jpg" alt="นกกระทุง" hspace="3" vspace="3" /><br /><big>นกกระทุง</big><big>นก</big>บางชนิดมีปีกเล็กมากเมื่อเทียบกับลำตัวจนบินไม่ได้ <big>นก</big>ที่บิน ไม่ได้เหล่านี้ เคลื่อนที่โดยวิ่งหรือเดินไปบนพื้นดิน อาศัยการกระพือปีก เพื่อพยุงลำตัวไปในขณะวิ่ง <big>นก</big>ที่บินไม่ได้บางชนิดวิ่งได้เร็วมาก เช่น <big>นก</big>กระจอกเทศ ซึ่งอาจวิ่งได้เร็วถึง ๕๐ ไมล์ต่อชั่วโมง<big>โดยทั่วไป</big> <big>นก</big>มีอายุยืนประมาณ ๕ ถึงกว่า ๕๐ ปี <big>นก</big>ที่อายุยืนที่สุดได้แก่ <big>นก</big>ราเวน (raven) อายุยืนกว่า ๖๙ ปี <big>นก</big>แก้วมาคอว์ (macaw) อายุ ยืนน้อยกว่านั้นเล็กน้อยคือประมาณ ๖๔ ปี<br /><br /><big>นก </big>ได้ชื่อว่า เป็นนักเดินทางที่สามารถเดินทางได้เป็นระยะทางไกล ที่สุดในกระบวนสัตว์ <big>นก</big>ที่เดินทางเก่งที่สุด ได้แก่ <big>นก</big>นางนวลแกลบ แห่งขั้วโลกเหนือ เมื่อถึงฤดูหนาวอากาศหนาวจัด <big>นก</big>นางนวลแกลบจะพา กันบินจากขั้วโลกเหนืออพยพไปอยู่ที่ขั้วโลกใต้ พอหมดฤดูหนาวก็ อพยพกลับถิ่นที่อยู่เดิม ปรากฏว่าในรอบหนึ่งปี <big>นก</big>ชนิดนี้ต้องบินอพยพ เป็นระยะทางไกลถึง ๒๒,๐๐๐ ไมล์<br /><br /><big>นก </big>ในโลกมีอยู่ประมาณ ๘,๖๐๐ ชนิด อาศัยอยู่ทั่วทุกหนทุกแห่ง เฉพาะในประเทศไทยมี ๘๓๐ ชนิด บางชนิดเราไม่เคยพบเห็นเลย เพราะ เป็น<big>นก</big>ที่อาศัยอยู่ในป่า หรือบนภูเขาสูง และบางชนิดเป็น<big>นก</big>ประจำถิ่น มีเฉพาะในบางบริเวณ เช่น <big>นก</big>ที่มีถิ่นอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร มี<big>นก</big>อยู่ประมาณ ๒๐๐ ชนิด<img src="https://saranukromthai.or.th/pictures1/s1-68.jpg" alt="นกพิราบ" hspace="3" vspace="3" /><br /><big>นกพิราบ</big><big>นักวิทยาศาสตร์</big>เชื่อว่า <big>นก</big>เกิดมีขึ้นบนโลกนานกว่า ๑๕๐ ล้านปีมา แล้วโดยมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลาน เห็นได้จากการที่หน้าแข้งของ<big>นก</big>ยังคงมีเกล็ดคล้ายเกล็ดของกิ้งก่า และจากการที่<big>นก</big>ออกลูกเป็นไข่เช่นเดียวกับสัตว์เลื้อยคลาน แต่<big>นก</big>เจริญกว่า เพราะ<big>นก</big>ทำรัง ออกไข่ กกไข่ และเลี้ยงดูลูกอ่อน สัตว์เลื้อยคลานไม่ทำเช่นนั้น<br /><br /><big>นก</big>มีหลายขนาด <big>นก</big>บางชนิดมีตัวเล็กจนแทบจะกำไว้ในมือได้ แต่บางชนิดก็มีขนาดใหญ่กว่านั้นหลายสิบเท่า <big>นก</big>ที่เล็กที่สุด ได้แก่ <big>นก</big>ฮัมมิง (bee hummingbird) ซึ่งเป็น<big>นก</big>พื้นเมืองของคิวบา มีลำตัวยาวประมาณ สองนิ้ว หนักเพียงเศษหนึ่งส่วนสิบออนซ์ ส่วน<big>นก</big>กระจอกเทศซึ่งได้ชื่อว่าเป็น<big>นก</big>ที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจสูงได้ถึงแปดฟุต และหนักถึง ๓๐๐ ปอนด์<span style="font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif;"><img src="https://saranukromthai.or.th/pictures1/s1-69.jpg" alt="นกนางนวล" hspace="3" vspace="3" /></span><br /><big>นกนางนวล</big><big>นก</big>ส่วนมากมีรูปร่างเพรียว หัวแหลมท้ายแหลม มีปีกสองปีก บิน ได้ในอากาศ ปีกของ<big>นก</big>แต่ละชนิดมีความยาวแตกต่างกันไป <big>นก</big>ที่มีปีก ยาวที่สุด ได้แก่ <big>นก</big>อัลบาทรอส (albatross) ซึ่งเป็น<big>นก</big>ทะเลชนิดหนึ่งอาศัย อยู่ในมหาสมุทรในซีกโลกภาคใต้ เมื่อเหยียดปีกออกเต็มที่วัดจากปลายปีก ด้านหนึ่งถึง ปลายปีกอีกด้านหนึ่งอาจยาวได้ถึงสิบสองฟุต <big>นก</big>อัลบาทรอส อาจกางปีกบินร่อนอยู่ในอากาศได้นานหลายชั่วโมง แต่ไม่ใช่<big>นก</big>ที่บินเร็วที่ สุด<br /><br /><big>การบิน</big>เร็วหรือบินช้าของ<big>นก</big> ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ที่หน้าอก และอัตราการกระพือปีก <big>นก</big>ที่บินได้เร็วมากๆ ได้แก่ <big>นก</big>จำพวก เหยี่ยว <big>นก</big>อินทรีบางชนิดบินได้เร็วถึง ๑๘๐ ไมล์ต่อชั่วโมง นับเป็น<big>นก</big>ที่บินเร็วที่สุด <big>นก</big>นางแอ่นบินได้ประมาณ ๖๐-๗๐ ไมล์ต่อชั่วโมง</p>
Paul Rakita Goldin
Pattira Thaithosaeng
Copyright (c) 2022 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2022-09-30
2022-09-30
22 3
-
บทความภาษาอังกฤษ
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/240551
<p>บทคัดย่อ</p>
แอดมิน ไทโจ
Copyright (c) 2023 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2023-06-01
2023-06-01
22 3
-
test
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/239909
<p>test</p>
ผู้เขียน เย็บปัก
ff
Copyright (c) 1970 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2023-09-15
2023-09-15
22 3
10
22
-
"พื้นผิว" ดวงอาทิตย์ หมายความว่าอย่างไร
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/240273
<p>ดังได้กล่าวแล้วว่า ดวงอาทิตย์เป็นก้อนก๊าซ ดังนั้น การกล่าวถึง "พื้นผิว" จึงดูไม่มีความ หมายอย่างใด ตามสามัญสำนึก ถ้าเรามองดูขอบดวงอาทิตย์ ก็น่าจะได้เห็นขอบของมันเลือนลาง ไม่ชัดเจน แต่ความจริง ถ้าเราส่องดูดวงอาทิตย์ โดยกล้องโทรทรรศน์ ซึ่งมีอุปกรณ์กรองแสงและความร้อนจัด เพื่อป้องกันอันตรายแก่ดวงตา จะเห็นว่า ขอบของดวงอาทิตย์นับว่า คมพอใช้ ข้อนี้อาจทำให้เกิดความสนเท่ห์ว่า เหตุใดก้อนก๊าซนี้ จึงมีขอบคมชัดเจน อย่างไรก็ตามเมื่อนักดาราศาสตร์ ได้นำหลักเกณฑ์ทางฟิสิกส์เกี่ยวกับการทับถมกันหนาแน่นของก๊าซ และเกี่ยวกับการแผ่รังสีของก๊าซร้อนมาใช้คำนวณทดสอบดูแล้ว ก็พบว่า ที่ขอบของก้อนก๊าซ (คือดวงอาทิตย์) นี้ ความเข้มของ รังสีที่แผ่กระจายออกมาจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในช่วงระยะทางสั้นๆ ตามแนวเส้นรัศมีเข้าสู่ศูนย์ กลางของดวงอาทิตย์ระยะนี้สั้นมาก เมื่อเทียบกับรัศมีของดวงอาทิตย์เอง จนกระทั่งอุปกรณ์สามัญ ที่เราใช้สำรวจก็ส่องเห็นเป็นขอบสว่างซึ่งค่อนข้างคมได้<br /><br />เราอาจพิจารณาขอบของดวงอาทิตย์ ที่สำรวจได้ในแสงสว่างธรรมดานี้ให้ละเอียดถี่ถ้วนขึ้น อีกเล็กน้อย ถ้าเรามองตามแนวที่ผ่านขอบดวงอาทิตย์เหนือขอบดวงเล็กน้อย เราอาจจะมองเห็น ของที่อยู่ไกลจากดวงอาทิตย์ออกไปได้ เพราะว่าก๊าซของดวงอาทิตย์ยังไม่ทึบบังเสียหมด ต่อเมื่อ เราค่อยเลื่อนแนวเล็งนั้น ใกล้ขอบดวงอาทิตย์มากเข้า ก๊าซของดวงอาทิตย์จะบังแนวเล็งยิ่งขึ้น ใน ที่สุดเมื่อเลื่อนเข้าชิดดวงอาทิตย์ถึงระดับหนึ่ง แสงสว่างจากวัตถุที่อยู่ข้างหลังดวงอาทิตย์ จะผ่าน มาไม่ได้เลย เพราะก๊าซของดวงอาทิตย์ทึบบังหมดพอดี ในกรณีนี้แสงสว่างที่มาเข้าตาหรืออุปกรณ์ ของเรา มาจากก๊าซในบรรยากาศของดวงอาทิตย์ทั้งหมด ที่ระดับนี้เอง เราเห็นขอบคมของดวง อาทิตย์</p> <p>นักดาราศาสตร์ได้กำหนดใช้ระดับนี้เป็นระดับ "พื้นผิว" ของดวงอาทิตย์ เพื่อความสะดวก ในการกล่าวถึงสภาพของก๊าซ ในระดับต่างๆ ที่สูงขึ้นมา หรือที่ลึกลงไปภายในดวงอาทิตย์</p> <p>แผนภาพในหน้านี้แสดงการเห็นขอบคมของดวงอาทิตย์ และระดับลึกลงไปในบรรยากาศ ของดวงอาทิตย์ ซึ่งอาจมองเห็นลงไปได้ตามตำแหน่งต่างๆ บนตัวดวง ตามหลักความสัมพันธ์ของ ความลึกและความทึบต่อรังสีของก๊าซในบรรยากาศของดวงอาทิตย์</p> <p><span style="font-family: Microsoft Sans Serif, MS Sans Serif, sans-serif;"><img src="https://saranukromthai.or.th/pictures1/s1-7.jpg" alt="" hspace="3" vspace="3" /></span><br />แผนภาพแสดงทางเดินของแสงสว่างจากระดับลึกต่างๆ ภายในดวงอาทิตย์ มายังตาของผู้สังเกตการณ์<br />เพื่ออธิบายการเห็นขอบคมของดวงอาทิตย์ และระดับลึกลงไปในบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ซึ่งผู้สังเกตการณ์อาจมองเห็นได้<br />ภาพนี้เขียนขยายมาตราส่วนระดับในดวงอาทิตย์ ที่ขี่ดวงเป็นชั้นๆ ไว้ให้หนาเกินความเป็นจริงหลายเท่า<br />เพื่อความชัดเจนในการอธิบาย</p> <p>ในแผนภาพนี้ ชั้นก๊าซในบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ถูกขยายสัดส่วนให้หนาขึ้นเกินความ จริง เมื่อเทียบกับส่วนในของดวงอาทิตย์ เพื่อแสดงหลักเกณฑ์ที่กล่าวถึงให้ชัดเจนขึ้น</p> <p>ก เป็นวัตถุสมมุติอยู่เบื้องหลังของดวงอาทิตย์ ไกลออกไปในแนวทางตรงข้ามกับผู้สังเกต การณ์ ถ้าลำแสงจาก ก ซึ่งเดินทางมายังผู้สังเกตการณ์ เฉียดบรรยากาศของดวงอาทิตย์ และถูก ดูดไว้โดยก๊าซในบรรยากาศของดวงอาทิตย์ไม่หมด เหลือมาถึงตาหรืออุปกรณ์ของผู้สังเกตการณ์ได้ ก็นับว่าแนวทางเดินของลำแสงนั้นยังไม่ถึงขอบดวง แต่ถ้าเลื่อนแนวลำแสงนี้ใกล้ดวงอาทิตย์มาก เข้าจนถึงระดับที่แสงสว่างถูกดูด โดยก๊าซที่หุ้มห่อดวงอาทิตย์พอดี ก็ถือว่าระดับนั้นเป็นขอบดวง อาทิตย์ เช่น ถ้าแสงจากจุด ข เดินทางมาถึงผู้สังเกตการณ์ได้พอดี ก็นับว่าแนวเส้นทางเดินแสงนั้น เฉียดขอบดวงอาทิตย์พอดี </p> <p>เมื่อเราพิจารณาแสงสว่างที่มาจากภายในขอบดวงอาทิตย์ ยิ่งใกล้กลางดวงเข้าแสงยิ่งมา จากระดับลึกยิ่งขึ้นตามลำดับ ทั้งนี้เป็นเพราะแสงมาจากระดับที่มีความทึบรวมเท่ากัน แสงที่ใกล้ ขอบดวงมาจากระดับที่สูงกว่าในบรรยากาศ จึงมีอุณหภูมิและความหนาแน่นต่ำกว่า แสงที่มาจาก แถบกลางดวงมาจากระดับลึกลงไปภายในดวงมีอุณหภูมิสูงกว่า ดังนั้น ดวงอาทิตย์จึงปรากฏแสง สว่างมากที่กลางดวง และมืดคล้ำที่ใกล้ขอบดวง</p> <p>ถ้าเราส่องดูตรงกลางของดวงอาทิตย์ เราอาจมองลึกลงไปจากระดับพื้นผิวนี้ได้ประมาณ ๒๕๐ กิโลเมตร ถัดจากนั้นลงไป เนื้อสารของดวงอาทิตย์จะหนาทึบยิ่งขึ้น แสงสว่างจากก๊าซใน ระดับที่ลึกกว่านี้ ไม่สามารถผ่านออกมาสู่อวกาศได้โดยตรง ต้องมีการถ่ายทอดโดยสะท้อน หรือ กระจายไปในทิศต่างๆ โดยอะตอมของก๊าซที่อยู่ในระดับสูงขึ้นมาเสียก่อน</p>
admin thaijo
สุตพิชญ์ชา ธงดาชัย
Copyright (c) 1970 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc/4.0
2022-08-26
2022-08-26
22 3
-
บทความภาษาอังกฤษ
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/240585
<p>ทดสอบ</p>
แอดมิน ไทโจ
Copyright (c) 2023 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2023-07-18
2023-07-18
22 3
-
บทความภาษาไทย
https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/Demo/article/view/240586
<p>ทดสอบ</p>
แอดมิน ไทโจ
Copyright (c) 2023 ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
2023-07-18
2023-07-18
22 3