ความหลากหลายของกลุ่มผู้ย้ายถิ่นในประเทศไทย: มุมมองทางประชากรและสังคม

ผู้แต่ง

  • สันติ อิทธิฤทธิ์มีชัย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย
  • ปรียานุช รัชตะหิรัญ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย

DOI:

https://doi.org/10.1234/demoj.2022.231954

คำสำคัญ:

ความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่, การเลื่อนชั้นทางสังคม, การเปลี่ยนสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคม, การวิเคราะห์การสมนัยแบบพหุ, การย้ายถิ่น

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสถานการณ์การย้ายถิ่นของคนไทยในปี พ.ศ. 2559 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและความอยู่ดีมีสุขในบริบทสังคมสูงวัย โดยวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำหรับกลุ่มตัวอย่างคือผู้ย้ายถิ่นจำนวน 2,631 กลุ่มตัวอย่าง ทั้งนี้ผู้วิจัยได้จำแนกความหลากหลายกลุ่มผู้ย้ายถิ่นในประเทศไทยได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ กลุ่มผู้ย้ายถิ่นที่มุ่งเน้นเหตุผลด้านครอบครัวและชีวิตการสมรส กลุ่มผู้ย้ายถิ่นจากกรุงเทพฯ กลุ่มผู้ย้ายถิ่นที่มุ่งเน้นเหตุผลด้านความก้าวหน้าในชีวิต และกลุ่มผู้ย้ายถิ่นตามฤดูกาลโดยพบว่า กลุ่มผู้ย้ายถิ่นที่มุ่งเน้นเหตุผลด้านความก้าวหน้าในชีวิตเป็นกลุ่มผู้ย้ายถิ่นส่วนใหญ่ของประเทศ ซึ่งสามารถอธิบายด้วยความต้องการเปลี่ยนสถานภาพทางเศรษฐกิจสังคมหรือการเลื่อนชั้นทางสังคมภายใต้บริบทความเหลื่อมล้ำเชิงพื้นที่ของประเทศไทย

References

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (2560). สรุปผลที่สำคัญ การสำรวจการย้ายถิ่นของประชากร พ.ศ. 2559. กรุงเทพฯ: สำนักสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

Ministry of Digital Economy and Society (2560). Summary Results Report: Thai Population’s Migration Survey in 2016.Bangkok: Statistical Forecasting Bureau, National Statistical Office. (In Thai).

ประสพชัย พสุนนท์, อาฟีฟี ลาเต๊ะ และเกตุวดี สมบูรณ์ทวี (2559). การประยุกต์เทคนิคการวิเคราะห์ การสมนัยในการวิจัยทางสังคมศาสตร์.วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9(1), 1-22.

Pasunon, P., Lateh, A., & Sombultawee, K. (2559). Correspondence analysis applied to social science research. MBA-KKU Journal, 9(1), 1-22. (In Thai).

ปราโมทย์ ประสาทกุล (2543). ประชากรศาสตร์: สารัตถศึกษาเรื่องประชากรมนุษย์.นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

Prasartkul, P. (2543). Demography: Educational Foundation about Population.Nakhonpathom: Institute for Population and Social Research, Mahidol University. (In Thai).

ปราโมทย์ ประสาทกุล และปัทมา ว่าพัฒนวงศ์ (2556). พจนานุกรมด้านประชากรศาสตร์พหุภาษา ฉบับภาษาไทย. (ปรับปรุงครั้งที่ 2). เข้าถึงจาก https://www.demopaedia.org/tools/spip. php?page=generate_index&format=html&edition=th-ii

Prasartkul, P. & Vapattanawong, P. (2556). Multilingual Demographic Dictionary: Thai version. (2nd edition). Retrieved from https://www.demopaedia.org/tools/spip.php?page= generate_index&format=html&edition=th-ii

พัชราวลัย วงศ์บุญสิน (2552). การย้ายถิ่น: ทฤษฎีและความเป็นไปในเอเชีย.กรุงเทพฯ: วิทยาลัย ประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Wongboonsin, P. (2552). Migration: Theories and the Patterns of the Migration Situation in Asia. (In Thai).

พัทยา เรือนแก้ว (2559). “ไทยต่างด้าว ท้าวต่างแดน: ประเด็นที่ต้องทบทวนและท้าทายสำหรับ สังคมไทย”. ใน พัทยา เรือนแก้ว, สุภางค์ จันทวานิช และฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว. (บรรณาธิการ). ไทยต่างด้าวท้าวต่างแดน: สังคมวิทยาของชีวิตข้ามพรมแดน.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ruenkaew, P. (2559). “Reconsidering Thailand foreign slumping overseas: a challenging issue for Thai Society”. In Ruenkaew, P., Chantavanich, S., & Banpasirichote Wungaeo, C. (editors). Thailand Foreign Slumping Overseas: Sociology of Life across the Border. gkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai).

เพ็ญพร ธีระสวัสดิ์ (2540). ประชากรศาสตร์: สาระสำคัญโดยสังเขป.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Teerasawat, P. (2540). Demography: Summary. (2nd edition). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai).

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (2558). ศัพทานุกรมการวิจัยทางประชากรและ สังคม. เข้าถึงจาก www.popterms.mahidol.ac.thInstitute for Population and Social Research, Mahidol University (2558). Glossary of Terms in Population and Social research. Retrieved from www.popterms.mahidol.ac.th

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2561). ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบับ พ.ศ. 2559. เข้าถึงจาก https://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link. php?nid=5628&filename=gross_regional

Office of the National Economic and Social Development Board (2561). Gross Regional and Provincial Product Chain Volume Measures 2016 Edition. Retrieved from https://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5628&filename=gross_regional

สุภางค์ จันทวานิช (2559). “บทสรุป ไทยต่างด้าว ท้าวต่างแดน: ประเด็นสำคัญและบทวิพากษ์นโยบาย การย้ายถิ่นระหว่างประเทศ”. ใน พัทยา เรือนแก้ว, สุภางค์ จันทวานิช และฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว. (บรรณาธิการ). ไทยต่างด้าวท้าวต่างแดน: สังคมวิทยาของชีวิตข้ามพรมแดน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chantavanich, S. (2559). “Summary of Thailand foreign slumping overseas: a crucial issue and criticism of international migration policies”. In Ruenkaew, P., Chantavanich, S., & Banpasirichote Wungaeo, C. (editors). Thailand Foreign Slumping Overseas: Sociology of Life across the Border.Bangkok: Chulalongkorn University Press. (In Thai).

Bryant, J. & Rukumnuaykit, P. (2013). The labour market impacts of immigration to developing countries: Evidence from a registration campaign in Thailand.The Journal of Development Studies, 49(6), 785-800.

Costa, P. S., Santos, N. C., Cunha, P., Cotter, J., & Sousa, N. (2013). The use of multiple correspondence analysis to explore associations between categories of qualitative variables in healthy ageing. Journal of Aging Research,Article ID 302163, Retrieved from https://dx.doi.org/10.1155/2013/302163.

DeJong, G. F. & Fawcett, J. T. (1981). Motivations for migration: an assessment and a value-expectancy research model. In DeJong, G. F. & Gardner, R. W. (eds).Migration Decision Making: Multidisciplinary Approaches to Micro-level Studies in Developed and Developing Countries. New York: Pergamon.

Duval, J. (2018). Correspondence analysis and Bourdieu’s approach to statistics. In The Oxford Handbook of Pierre Bourdieu. Retrieved from https://www.oxfordhandbooks. com/view/10.1093/oxfordhb/9780199357192.001.0001/oxfordhb-9780199357192- e-23

Fielding, A. J. (2007). Migration and social mobility in urban systems: national and international trends. International Handbook of Urban Policy, 1, 107-137.

Goldstein, S. and Goldstein, A. (1981). The impact of migration on fertility: an own children analysis for Thailand. Population Studies. 35(2), 265-284.

Hernández-Plaza, S., Alonso-Morillejo, E., & Pozo-Muñoz, C. (2005). Social support interventions in migrant populations. British Journal of Social Work,36(7), 1151-1169.

Jampaklay, A., Korinek, K., & Entwisle, B. (2007). Residential clustering among Nang Rong migrants in urban settings of Thailand. Asian and Pacific Migration Journal, 16(4), 485-510.

Lebaron F. (2009). How Bourdieu “Quantified” Bourdieu: The Geometric Modelling of Data. In Robson K. & Sanders C. (eds). Quantifying Theory: Pierre Bourdieu.Dordrecht: Springer.

Lee, E. S. (1966). A theory of migration. Demography J. 3(1), 47-57.

Li, T. E., & McKercher, B. (2016). Effects of place attachment on home return travel: a spatial perspective. Tourism Geographies, 18(4), 359-376.

Lipton, M. (1980). Migration from rural areas of poor countries: the impact on rural productivity and income distribution. World Development J. 8(1), 1-24.

Long, J. (2005). Rural-urban migration and socioeconomic mobility in Victorian Britain. The Journal of Economic History. 65(1), 1-35.

Massey, D. S., Arango, J., Hugo, G., Kouaouci, A., Pellegrino, A., & Taylor, J. E. (1993). Theories of international migration: a review and appraisal. Population and Development Review, 19(3), 431-466.

O’Reilly, K. (2012). International Migration and Social Theory.Basingstoke: Palgrave Macmillan.

Oh, J. H. (2003). Social bonds and the migration intentions of elderly urban residents: The mediating effect of residential satisfaction. Population Research and Policy Review, 22(2), 127-146.

Pholphirul, P. & Rukumnuaykit, P. (2010). Economic contribution of migrant workers to Thailand. International Migration, 48(5), 174-202.

Piore, M. J. (1979). Birds of Passage: Migrant Labor and Industrial Societies.Cambridge University Press.

Ravenstein, E. G. (1889). The laws of migration. Journal of the Royal Statistical Society,52(2), 241-305.

Scannell, L., & Gifford, R. (2010). Defining place attachment: A tripartite organizing framework.Journal of Environmental Psychology, 30(1), 1-10.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-04-27

How to Cite

อิทธิฤทธิ์มีชัย ส., & รัชตะหิรัญ ป. (2020). ความหลากหลายของกลุ่มผู้ย้ายถิ่นในประเทศไทย: มุมมองทางประชากรและสังคม. วารสารทดสอบศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (ใช้ทดสอบระบบเท่านั้น), 10(2), 73–80. https://doi.org/10.1234/demoj.2022.231954

ฉบับ

บท

บทความวิจัย