นก

Main Article Content

Paul Rakita Goldin
Pattira Thaithosaeng

บทคัดย่อ

นก บางชนิดบินได้สูงมาก นกที่บินได้สูงที่สุดคือห่าน ซึ่งบินได้สูง กว่า ๒๙,๐๐๐ ฟุต เคยปรากฏว่านกคอนดอร์ (condor) ในอเมริกาใต้บินชน กับเครื่องบินที่บินอยู่สูง ๒๐,๐๐๐ ฟุต นกทั่วๆ ไปบินไม่สูงเกินกว่า ๓,๐๐๐ ฟุต ในขณะอพยพย้ายถิ่น นกมักบินต่ำกว่าเมฆที่ลอยอยู่ต่ำสุด ไม่บินสูง ขึ้นไปมากกว่านั้น

แม้ว่า นกส่วนมากจะเป็นนกที่อาศัยอยู่บนพื้นดิน แต่ก็มีนกจำนวนไม่น้อยที่ใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ใกล้น้ำ และอาจว่ายน้ำ หรือดำน้ำได้ดี นกที่ได้ชื่อว่าว่ายน้ำเก่งที่สุด ได้แก่ นกลูน (loon) ซึ่งเป็นนกที่มีรูปร่างคล้ายเป็ด แต่มีปากแหลม อาศัยอยู่ในแถบขั้วโลกเหนือ นกลูนอาจดำลงไปใต้น้ำไล่ จับปลากินเป็นอาหาร นกแกนเนต (gannet) ซึ่งเป็นนกน้ำอีกชนิดหนึ่ง เป็นนกที่อาจดำน้ำได้เก่งอย่างยอดเยี่ยม นกแกนเนตอาจดำน้ำได้ลึกถึง ๖๐ หรือ ๑๐๐ ฟุต


นกกระทุง
นกกระทุงนกบางชนิดมีปีกเล็กมากเมื่อเทียบกับลำตัวจนบินไม่ได้ นกที่บิน ไม่ได้เหล่านี้ เคลื่อนที่โดยวิ่งหรือเดินไปบนพื้นดิน อาศัยการกระพือปีก เพื่อพยุงลำตัวไปในขณะวิ่ง นกที่บินไม่ได้บางชนิดวิ่งได้เร็วมาก เช่น นกกระจอกเทศ ซึ่งอาจวิ่งได้เร็วถึง ๕๐ ไมล์ต่อชั่วโมงโดยทั่วไป นกมีอายุยืนประมาณ ๕ ถึงกว่า ๕๐ ปี นกที่อายุยืนที่สุดได้แก่ นกราเวน (raven) อายุยืนกว่า ๖๙ ปี นกแก้วมาคอว์ (macaw) อายุ ยืนน้อยกว่านั้นเล็กน้อยคือประมาณ ๖๔ ปี

นก ได้ชื่อว่า เป็นนักเดินทางที่สามารถเดินทางได้เป็นระยะทางไกล ที่สุดในกระบวนสัตว์ นกที่เดินทางเก่งที่สุด ได้แก่ นกนางนวลแกลบ แห่งขั้วโลกเหนือ เมื่อถึงฤดูหนาวอากาศหนาวจัด นกนางนวลแกลบจะพา กันบินจากขั้วโลกเหนืออพยพไปอยู่ที่ขั้วโลกใต้ พอหมดฤดูหนาวก็ อพยพกลับถิ่นที่อยู่เดิม ปรากฏว่าในรอบหนึ่งปี นกชนิดนี้ต้องบินอพยพ เป็นระยะทางไกลถึง ๒๒,๐๐๐ ไมล์

นก ในโลกมีอยู่ประมาณ ๘,๖๐๐ ชนิด อาศัยอยู่ทั่วทุกหนทุกแห่ง เฉพาะในประเทศไทยมี ๘๓๐ ชนิด บางชนิดเราไม่เคยพบเห็นเลย เพราะ เป็นนกที่อาศัยอยู่ในป่า หรือบนภูเขาสูง และบางชนิดเป็นนกประจำถิ่น มีเฉพาะในบางบริเวณ เช่น นกที่มีถิ่นอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร มีนกอยู่ประมาณ ๒๐๐ ชนิดนกพิราบ
นกพิราบนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า นกเกิดมีขึ้นบนโลกนานกว่า ๑๕๐ ล้านปีมา แล้วโดยมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์เลื้อยคลาน เห็นได้จากการที่หน้าแข้งของนกยังคงมีเกล็ดคล้ายเกล็ดของกิ้งก่า และจากการที่นกออกลูกเป็นไข่เช่นเดียวกับสัตว์เลื้อยคลาน แต่นกเจริญกว่า เพราะนกทำรัง ออกไข่ กกไข่ และเลี้ยงดูลูกอ่อน สัตว์เลื้อยคลานไม่ทำเช่นนั้น

นกมีหลายขนาด นกบางชนิดมีตัวเล็กจนแทบจะกำไว้ในมือได้ แต่บางชนิดก็มีขนาดใหญ่กว่านั้นหลายสิบเท่า นกที่เล็กที่สุด ได้แก่ นกฮัมมิง (bee hummingbird) ซึ่งเป็นนกพื้นเมืองของคิวบา มีลำตัวยาวประมาณ สองนิ้ว หนักเพียงเศษหนึ่งส่วนสิบออนซ์ ส่วนนกกระจอกเทศซึ่งได้ชื่อว่าเป็นนกที่ใหญ่ที่สุดในโลก อาจสูงได้ถึงแปดฟุต และหนักถึง ๓๐๐ ปอนด์นกนางนวล
นกนางนวลนกส่วนมากมีรูปร่างเพรียว หัวแหลมท้ายแหลม มีปีกสองปีก บิน ได้ในอากาศ ปีกของนกแต่ละชนิดมีความยาวแตกต่างกันไป นกที่มีปีก ยาวที่สุด ได้แก่ นกอัลบาทรอส (albatross) ซึ่งเป็นนกทะเลชนิดหนึ่งอาศัย อยู่ในมหาสมุทรในซีกโลกภาคใต้ เมื่อเหยียดปีกออกเต็มที่วัดจากปลายปีก ด้านหนึ่งถึง ปลายปีกอีกด้านหนึ่งอาจยาวได้ถึงสิบสองฟุต นกอัลบาทรอส อาจกางปีกบินร่อนอยู่ในอากาศได้นานหลายชั่วโมง แต่ไม่ใช่นกที่บินเร็วที่ สุด

การบินเร็วหรือบินช้าของนก ขึ้นอยู่กับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ที่หน้าอก และอัตราการกระพือปีก นกที่บินได้เร็วมากๆ ได้แก่ นกจำพวก เหยี่ยว นกอินทรีบางชนิดบินได้เร็วถึง ๑๘๐ ไมล์ต่อชั่วโมง นับเป็นนกที่บินเร็วที่สุด นกนางแอ่นบินได้ประมาณ ๖๐-๗๐ ไมล์ต่อชั่วโมง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2557). การพัฒนามาตรวัดปัญหาจากการดื่มสุราสำหรับนักศึกษา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 59(4) , 355-369.

ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2560). ความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถามแรงจูงใจในการดื่มสุรา ฉบับปรับปรุงในนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 62(3) , 223-232.

ซิ่วฮวย แซ่ลิ้ม, กนกพร หมู่พยัคฆ์ และ นันทวัน สุวรรณรูป. (2560). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 37(3), 25-36.

ฑิฆัมพร หอสิริ, ชุลีกร สิทธิสันติ์ และกนกวรรณ ลิ้มศรีเจริญ. (2559). ความชุกของพฤติกรรมการดื่ม สุราในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 61(1), 3-14.

ดรุณี ภู่ขาว, ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, รติพันธุ์ ถาวรวุฒิชาติ, ปิยกฤตา เครือหิรัญ, สุประภา สง่าศรี, ภัทรียา กิจเจริญ, …. และคณะ (2565). การเฝ้าระวังพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ และความคิดแฝงในกลุ่มนักศึกษามหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (รายงานการวิจัย). นครปฐม: คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2560). รายงานฉบับสมบูรณ์ การสำรวจการรับรู้ ความคิดเห็นต่อฉลากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์: กรณีศึกษาตัวอย่างประชาชนใน 16 จังหวัดทุกภูมิภาคทั่วประเทศ. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. นนทบุรี.

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2565). แบบแผนและแนวโน้มพฤติกรรมการดื่มสุราของประชากรไทย. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. สงขลา

สำนักส่งเสริมสุขภาพ. (2562). โทษ พิษ ภัยของสุราและผลกระทบต่อสุขภาพทั้งต่อตนเองและผู้ใกล้ชิด: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

สุนทรพจน์ ดำรงค์พาณิช. (2563). โปรแกรม MPLUS กับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

สุพัตรา สกุลศรีประเสริฐ & ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2561). แรงจูงใจในการดื่มกับปัญหาจากการดื่มสุราในนักศึกษา: การพัฒนาแบบจำลองและตรวจสอบความไม่แปรเปลี่ยนของแบบจำลองระหว่างเพศ. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 19(2), 156-169.

Aurora, P. & Klanecky, A. K. (2016). Drinking motives mediate emotion regulation difficulties and problem drinking in college students. The American Journal of Drug and Alcohol Abuse, 42(3), 341-350. https://doi.org/10.3109/00952990.2015.1133633.

Buckner, J.D., Lewis, E.M., Abarno, C.N., Morris, P.E., Glover, N.I. & Zvolenksy, M.J. (2021). Difficulties with emotion regulation and drinking during the COVID-19 pandemic among undergraduates: the serial mediation of COVID-related distress and drinking to cope with the pandemic. Cognitive Behavioural Therapy, 50(4), 261-275. https://doi.org/10.1080/16506073.2020.1861084

Bresin. K., & Mekawi, Y. (2021). The "Why" of Drinking Matters: A Meta-Analysis of the Association Between Drinking Motives and Drinking Outcomes. Alcoholism: Clinical and Experimental Research, 45(1), 38-50. https://doi.org/10.1111/acer.14518.

Brister, H.A. (2012). Increasing emotion regulation skills for the reduction of heavy drinking [Doctoral dissertation, The University of Texas at Austin]. The University of Texas at Austin Repository. http://hdl.handle.net/2152/19476.

Center for Behavioral Health Statistics and Quality. (2015). Behavioral health trends in the United States: results from the 2014 National Survey on Drug Use and Health. HHS Publication No. SMA 15-4927, NSDUH Series H-50.

Cooper, M. L. (1994). Motivations for alcohol use among adolescents: Development and validation of a four-factor model. Psychological Assessment, 6(2), 117-128.

Dvorak R.D., Sargent E.M., Kilwein T.M., Stevenson B.L., Kuvaas N.J. & Williams T.J. (2014). Alcohol use and alcohol-related consequences: associations with emotion regulation difficulties, The American Journal of Drug and Alcohol Abuse, 40(2), 125-130. https://doi.org/10.3109/00952990.2013.877920.

Gmel, G., Labhart, F. & Fallu, J.S. & Kuntsche, E. (2012). The association between drinking motives and alcohol-related consequences - room for biases and measurement issues? Addiction, 107, 1580-1589. https://doi.org/10.1111/j.1360-0443.2012.03892.

Gratz, K.L., & Roemer, L. (2004). Multidimensional Assessment of Emotion Regulation and Dysregulation: Development, Factor Structure, and Initial Validation of the Difficulties in Emotion Regulation Scale. Journal of Psychopathology and Behavioral Assessment. 26. 41-54. https://doi.org/10.1023/B:JOBA.0000007455.08539.94

Hair, J. F. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). Upper Saddle River, N.J.: Pearson Prentice Hall.

Kuntsche, E., Knibbe, R., Gmel, G. & Engels, R. (2006). Who drinks and why? A review of socio-demographic, personality, and contextual issues behind the drinking motives in young people. Addictive Behaviors, 31(10), 1844-1857. https://doi.org/10.1016/j.addbeh.2005.12.028

Mchugh, R.K. & Weiss, D. R. (2019). Alcohol use disorder and depressive disorders. Alcohol Research, 40(1). https://doi.org/ 10.35946/arcr.v40.1.01

Messman-Moore, T. L., & Ward, R. M. (2014). Emotion dysregulation and coping drinking motives in college women. American journal of health behavior, 38(4), 553–559. https://doi.org/10.5993/AJHB.38.4.8.

Ottonello, M., Fiabane, E., Pistarini, c., Spigno, P. & Torseeli, E. (2019) Difficulties in emotion regulation during rehabilitation for alcohol addiction: Correlations with metacognitive beliefs about alcohol use and relapse risk 15, 2917-2925. https://doi.org/10.2147/NDT.S214268

Rizk, M. M., Herzog, S., Dugad, S., & Stanley, B. (2021) Suicide risk and addiction: the impact of alcohol and opioid use disorders. Current Addiction Reports, 40(1). https://doi.org/10.1007/s40429-021-00361-z

Simons, R., Hahn, A M., Simons, Jeffery, & Murase, H. (2017) Emotion dysregulation and peer drinking norms uniquely predict alcohol-related problems via motives. Drug and alcohol dependence, 177, 54-58. https://doi.org/10.1016/j.drugalcdep.2017.03.019

Sjödin, L., Larm, P., Karlsson, P., Livingston, M., & Raninen, J. (2021). Drinking motives and their associations with alcohol use among adolescents in Sweden. Nordic Studies on Alcohol and Drugs, 38(3), 256-269. https://doi.org/10.1177/1455072520985974.

Schick, M. R., Nalven, T., & Spillane, N. S. (2022). Drinking to Fit in: The effects of drinking motives and self-esteem on alcohol use among female college students. Substance Use & Misuse, 57(1), 76-85. https://doi.org/10.1080/10826084.2021.1990334

Woods-Jaeger, B. A., Nobles, R. H., Warren, L., & Larimer, M. E. (2016). The Relationship between Emotion Regulation, Social Support, and Alcohol-Related Problems among Racially Diverse Adolescents. Journal of child & adolescent substance abuse, 25(3), 245–251. https://doi.org/10.1080/1067828X.2015.1012611

Vernig, P. M. & Orsillo, S. M. (2015) Drinking motives and college alcohol problems: a prospective study. Journal of Substance Use, 20:5, 340-346. https://doi.org/10.3109/14659891.2014.923053