ค่านิยมความพอเพียง : ค่านิยมร่วมที่ควรเร่งสร้างในองค์กรสถานศึกษา

Main Article Content

Suchada nanthachai

Abstract

การสร้างค่านิยมร่วม (Shared values) เป็นเเนวทางหนึ่งซึ่งก่อให้เกิดวัฒนธรรมในการดำเนินชีวิตและการปฏิบัติงานในองค์กรสถานศึกษา เป็นองค์กรที่มีระบบ ทั้งการบริการ และการบริหารโดยมีเป้าหมายที่คุณภาพของผลผลิตคือผู้เรียนเป็นสำคัญ  สถานศึกษาจึงต้องคำนึงถึงระบบคุณภาพในทุกระดับและทุกด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารคุณภาพของคนและกลุ่ม ได้แก่ครูและบุคลากรที่มีบทบาทหน้าที่ในสถานศึกษา ค่านิยมความพอเพียงนับเป็นแบบแผนความเชื่อที่เป็นไปตามแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency  Economy)ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่เก้า ที่สถานศึกษาพึงสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นในจิตสำนึกและยึดถือปฏิบัติเป็นค่านิยมของครูและบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อเป็นวิถีชีวิต และวิธีการปฏิบัติงานที่เจริญงอกงามด้วยสันติสุขอันจะส่งผลต่อคุณภาพและความสำเร็จในการพัฒนาผู้เรียนอย่างยั่งยืนในท้ายที่สุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
nanthachai, S. (2021). ค่านิยมความพอเพียง : ค่านิยมร่วมที่ควรเร่งสร้างในองค์กรสถานศึกษา. National Interest, 1(2), 69–76. Retrieved from https://sc01.tci-thaijo.org/index.php/NIT/article/view/239998
Section
Research articles

References

(1) ปรียานุช พิบูลสราวุธ. (2549). เดินตามรอยเท้าพ่อ… เศรษฐกิจพอเพียง. เอกสารอัดสำเนา.
(2) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจเเละสังคมเเห่งชาติ. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร? กรุงเทพมหานคร.
(3) สุชาดา นันทะไชย. (2547). จริยธรรมและจรรยาสำหรับครู. โรงพิมพ์
ฮักพริ้นติ้ง. กรุงเทพมหานคร. (2554). จริยธรรมวิชาชีพสำหรับ ผู้บริหารทางการศึกษา. โรงพิมพ์สามเจริญ. กรุงเทพมหานคร.
(4) อภิชัย พันธเสน. (2549). สังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. กรุงเทพฯ.