การประยุกต์ใช้ Google’s Teachable Machine ในการตรวจจับใบหน้าผู้ก่อการร้าย

Main Article Content

ธรรมราช อาษาสุววณ
ชนัษฎาภรณ์ ใจแน่น
ภรณ์ระวี โสภณพิเชฐ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการศึกษาและประเมินความเป็นไปได้ของเครื่องมือปัญญาประดิษฐ์ (AI) คือ Google’s Teachable Machine ในการตรวจจับใบหน้าผู้ก่อการร้ายในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้วิจัย มีขั้นตอนการศึกษาและวิจัย คือ ศึกษาค่าไฮเปอร์พารามิเตอร์ 3 แบบ ของ Google’s Teachable Machine ได้แก่ 1) Epochs 2) Batch size และ 3) Learning rate ผู้วิจัยทำการเตรียมข้อมูลและทดสอบระบบ Google’s Teachable Machine โดยการป้อนข้อมูลใบหน้าของผู้ก่อการร้ายและใบหน้าที่ไม่ใช่ผู้ก่อการร้าย เพื่อให้ AI ได้ เรียนรู้และแยกแยะออกได้ หรือที่เรียกว่า Machine Learning โดยได้ทำการหาค่าไฮเปอร์พารามิเตอร์ที่เหมาะสม ศึกษา และทดลองซ้ำ ๆ เพื่อให้ได้ค่าไฮเปอร์พารามิเตอร์ ทั้ง Epochs, Batch size และ Learning rate ที่จะ สามารถตรวจจับใบหน้าผู้ก่อการร้ายได้ชัดเจน และมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ค่าที่ เหมาะสมของไฮเปอร์พารามิเตอร์ คือ Epochs = 100, Batch size = 256 และ Learning rate = 0.001 และ จากการทดสอบ พบว่า Google’s Teachable Machine มีประสิทธิภาพในการตรวจจับใบหน้าร้อยละ 96.50 การวิจัยนี้เห็นได้ว่า Google’s Teachable Machine สามารถตรวจจับใบหน้าได้ และเป็นเครื่องมือที่ดี ช่วย ประหยัดเวลาและลดขั้นตอนในการเขียนโปรแกรม ผู้ที่สนใจศึกษา สามารถนำ Google’s Teachable Machine หรือ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาใช้งานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่แม่นยำและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
[1]
อาษาสุววณ ธ., ใจแน่น ช. ., และ โสภณพิเชฐ ภ., “การประยุกต์ใช้ Google’s Teachable Machine ในการตรวจจับใบหน้าผู้ก่อการร้าย”, Def. Technol. Acad. J., ปี 6, ฉบับที่ 13, น. 62–73, พ.ค. 2024.
บท
บทความวิจัย

References

Institute for Economics & Peace. “2022 Global Terrorism Index.” VISIONOFHUMANITY.org. https://www.visionofhumanity.org/maps/ global-terrorism-index/#/ (accessed Jan. 29, 2024).

Institute for Economics & Peace. “Vision of Humanity.” VISIONOFHUMANITY.org. https:// www.visionofhumanity.org/maps/global terrorism-index/#/ (accessed Jan. 29, 2024).

ก. สระอุบล, เรียนรู้ Data Science และ AI: Machine Learning ด้วย Python. กรุงเทพฯ, ไทย: มีเดีย เนทเวิร์ค, 2563.

จ. น้อยมณี, AI Government Framework กรอบการทำ งานปัญญาประดิษฐ์ภาครัฐ. กรุงเทพฯ, ไทย: บริษัท พีเอเอ็น (ไทยแลนด์) จำกัด, 2563.

H. Jeong, “Feasibility Study of Google's Teachable Machine in Diagnosis of Tooth Marked Tongue,” J. Dent. Hyg. Sci., vol. 20, no. 4, pp. 206-212, 2020.

S. Nupap and O. - U. Pramote, “Design and Development of Character Recognition Applications on Mobile Devices for Practice Writing Thai Consonants,” in The 13th NPRU Nat. Acad. Conf. Nakhon Pathom Rajabhat Univ., Nakhon Pathom, Thailand, Jul. 2021, pp. 641-649. (in Thai)

J. Sanuksan and O. Surinta, “Deep Convolutional Neural Networks for Plant Recognition in the Natural Environment,” J. Sci. Technol. MSU, vol. 38, no. 2, pp. 113-124, 2019. (in Thai)

J. T. Roscoe, Fundamental Research Statistics for the Behavioral Sciences. NY, USA: Holt Rinehart and Winston, 1975.

ส. เกษจำรัส. “AI คืออะไร? ทำความเข้าใจ AI แบบง่าย ๆ.” BEARTAI.com. https://www. beartai.com/article/tech-article/424875 (วันที่เข้าถึง ม.ค. 29, 2566).

บ. ศรีสะอาด, หลักการวิจัยเบื้องต้น, พิมพ์ ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ, ไทย: สุวีริยาสาสน์, 2535.

Generated Media. “Generated faces.” GENERATED.PHOTOS. https://generated. photos/faces (accessed Jan. 30, 2024).