หลักการวิเคราะห์ความลาดชันของถนนสำหรับการเคลื่อนย้ายรถบรรทุก 6 ล้อ ดัดแปลงสภาพ

Main Article Content

ธีรไนย ศรีธรรมรงค์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ในการจำลองภารกิจช่วยเหลือทางทหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน ด้วยการนำเสนอหลักการวิเคราะห์ความลาดชันของถนนสำหรับการเคลื่อนย้ายรถบรรทุก 6 ล้อ ดัดแปลงสภาพ โดยชี้ให้เห็นความสำคัญในการนำหลักการวิเคราะห์ความลาดชันของถนนสำหรับการเคลื่อนย้ายรถบรรทุก 6 ล้อ ดัดแปลงสภาพ มาสร้างเครื่องมือช่วยตัดสินใจเพื่อลดอุปสรรคในการเดินรถและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะขับขึ้นลงเขาที่มีความลาดชัน ซึ่งศึกษาเส้นทางขนส่งทางบกปกติระหว่างสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศและหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ 31 ในเส้นทางช่วงระหว่าง จ.อุตรดิตถ์ และ จ.แพร่ ตามทางหลวงหมายเลข 11 ซึ่งเป็นเส้นทางขึ้นลงเขาสูงชันระยะทางทั้งสิ้น 31.4 กิโลเมตร ถือเป็นทั้งอุปสรรคในการเดินรถ รถบรรทุก 6 ล้อ ดัดแปลงสภาพ และอาจก่อให้เกิดอันตรายขณะขับขึ้นลงเขาที่มีความลาดชัน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล DEM รายละเอียดจุดภาพ 12.5 เมตร สามารถนำไปประเมินอุปสรรคในการเดินรถและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะขับขึ้นลงเขา โดยพบว่ามีระยะทาง 2.09 กิโลเมตร ที่มีความชันเกิน 21.61 องศา ซึ่งเกินขีดความสามารถในการใช้เดินรถบรรทุก 6 ล้อ ดัดแปลงสภาพ จึงเสนอแนะให้หลีกเลี่ยงเส้นทางขนส่งทางบกปกติระหว่างสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศและหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ 31 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในห้วงระยะทาง 2.09 กิโลเมตร

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
[1]
ศรีธรรมรงค์ ธ., “หลักการวิเคราะห์ความลาดชันของถนนสำหรับการเคลื่อนย้ายรถบรรทุก 6 ล้อ ดัดแปลงสภาพ”, Def. Technol. Acad. J., ปี 2, ฉบับที่ 6, น. 26–43, ธ.ค. 2020.
บท
บทความวิชาการ

References

พระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการ กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2552. ราชกิจจานุเบกษา. จำนวน 6 น.

ชำนาญ ขุมทรัพย์. 2561. แนวคิดระบบอำนวยการปฏิบัติแบบเคลื่อนที่เพื่อการบรรเทาภัยพิบัติและสาธารณภัย วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1. น. 7 – 19.

หนังสือหน่วยบัญชาการทหารพัฒนาด่วนที่สุด ที่ กห 0309/2568. ลง 11 กันยายน 2562. เรื่องขอรับการสนับเครื่องมือโครงการประยุกต์ใช้แผนที่สถานการณ์ร่วมเพื่อจำลองภารกิจช่วยเหลือทางทหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน. จำนวน 1 น.

หนังสือสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ที่ สทป 5800/612. ลง 15 พฤษภาคม 2563. เรื่อง ตอบรับให้การสนับสนุนเครื่องมือโครงการประยุกต์ใช้แผนที่สถานการณ์ร่วมเพื่อจำลองภารกิจช่วยเหลือทางทหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน. จำนวน 1 น.

ชำนาญ ขุมทรัพย์. 2562. การถ่ายทอดเทคโนโลยีของโครงการวิจัยและพัฒนาสู่ภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. ปีที่ 10 ฉบับที่ 2. น. 12 – 25.

สัญญาจ้างปรับปรุงรถควบคุมภาคพื้นเคลื่อนที่สำหรับการพัฒนาระบบควบคุมและสั่งการในสถานการณ์ฉุกเฉิน. 2560. สำหรับโครงการประยุกต์ใช้แผนที่สถานการณ์ร่วมเพื่อจำลองภารกิจช่วยเหลือทางทหารในสถานการณ์ฉุกเฉิน. สัญญาเลขที่ 62/CTH00080 ลง 29 ธันวาคม 2560. สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ. 10 น.

ไพศาล จี้ฟู. 2561. การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 175 น.

สรรค์ใจ กลิ่นดาว. 2542. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์: หลักการเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 128 น.

Paul Bolstad. 2016. GIS Fundamentals: A First Text on Geographic Information Systems, Fifth Edition 5th edition. XanEdu Publishing Inc.: Acton, MA. 770 p.

Haiwen Du, A-Xing Zhu, and Yong Wang. Spatial prediction of flea index of transmitting plague based on environmental similarity. Annals of GIS, Volume 26, Issue 3, pp. 227 - 236.

Sohaib K M Abujayyab and Ismail Rakıp Karas. 2020. Landslide Susceptibility Mapping Using Shallow Neural Networks Model at Refahiye District in Turkey. Turkish Journal of Remote Sensing and GIS. Volume 1, Issue 2. pp. 61 - 77.

Yufan Zuo , Zhiyuan Liu and Xiao Fu. 2020. Measuring accessibility of bus system based on multi-source traffic data. Geo-spatial

Information Science. Volume 23, Issue 3. pp. 248-257. DOI: 10.1080/10095020.2020.1783189

Mohammad Abousaeidi, Rosmadi Fauzi, Rusnah Muhamad. 2015. Geographic Information System (GIS) modeling approach to determine the fastest delivery routes. Saudi Journal of Biological Sciences (2016) 23, 555 – 564.

Caliskan, E,ediroglu, S., Yildirim, V. 2018. Determination forest road routes via GIS-based spatial multi-criterion decision methods. Applied Ecology and Environmental Research. 17(1):759 - 779. DOI: http://dx.doi.org/10.15666/aeer/1701_759779.

Emad Basheer Salameh Dawwas. GIS as a Tool for Route Location and Highway Alignment. Thesis submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master in Highway and Transportation Engineering, Faculty of Graduate Studies, An-Najah National University, Nablus, Palestine. 140 p.

Sayed Ahmed, Romani Farid Ibrahim, and Hesham A. Hefny. 2017. GIS-Based Network Analysis for the Roads Network of the Greater

Cairo Area. In Proceedings of the International Conference on Applied Research in Computer Science and Engineering ICAR'17, .Lebanon,

- 06 - 2017. Available online ar published at http://ceur-ws.org.

Hino Thailand. 2020. 6 - wheel truck; FC9JJLA. Online available from: www.hinochairatchakarn.com/home/inventory/hino-500-dominator-fc9jela-fc9jjla-fc9jlla-175h [Accessed 9 December 2020]