บทเรียนเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเสิ่นเจิ้นต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกในประเทศไทย

Main Article Content

ลัญญณัฐ ภาตะนันท์

บทคัดย่อ

เขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเสิ่นเจิ้นในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้เริ่มจัดตั้งในปี 2522 ซึ่งในปัจจุบันเมืองเสิ่นเจิ้นได้ชื่อว่าเป็น “Silicon Valley of Asia” และเป็นต้นแบบในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษสำหรับประเทศอื่น ๆ ด้วย บทความนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิและประมวลผลจากงานเอกสารวิชาการรายงานการวิจัยเพื่อศึกษาการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษเสิ่นเจิ้น ประเด็นศึกษาประกอบด้วย 3 ประเด็น ได้แก่ 1. การบริหารจัดการ 2. นโยบายของรัฐบาลในการสนับการลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติ 3. รูปแบบการลงทุนและปัจจัยความสำเร็จ นำมาเปรียบเทียบกับการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ในประเทศไทยและนำมาเป็นบทเรียนในการพัฒนาเศรษฐกิจภาคตะวันออกของไทยให้มีขีดความสามารถเฉกเช่นเดียวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษเสิ่นเจิ้น และจากการศึกษาพบว่าปัจจัยสำคัญของการพัฒนาเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออกของไทยให้ประสบความสำเร็จ คือ การบริหารจัดการที่ต้องมีส่วนของภาคท้องถิ่น ภาคประชาสังคม และภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมด้วย เพื่อให้การดำเนินการต่าง ๆ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
[1]
ภาตะนันท์ ล. ., “บทเรียนเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเสิ่นเจิ้นต่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกในประเทศไทย”, Def. Technol. Acad. J., ปี 2, ฉบับที่ 5, น. 16–35, ก.ค. 2020.
บท
บทความวิชาการ

References

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2548). รายงานของคณะกรรมาธิการการเศรษฐกิจ การพาณิชย์ และอุตสาหกรรม วุฒิสภา “ร่างพระราชบัญญัติเขตเศรษฐกิจพิเศษ”. กรุงเทพฯ, หน้า 3.

สิริวษา สิทธิชัย, “สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อประโยชน์ในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ”. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.

โครงการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาผู้นำคลื่นลูกใหม่ในราชการไทย, “รายงานการศึกษาดูงานต่างประเทศ ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกงและเมืองเซินเจิ้น มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรฐัประชาชนจีน”, 2560 ที่มาhttps://www.ocsc.go.th/sites/default/files/attachment/page/raayngaanklum_tpth._part_2.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2563

สรุป Special Economic Zone Laws ของต่างประเทศโดยฝ่ายพัฒนากฎหมายสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ธันวาคม 2546 ที่มา http://web.krisdika.go.th/data/news/news123.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2563.

ที่มา http://www.absolutechinatours.com/news/Shenzhen-economic-zone-4714.html สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2563

Ren Lu, Chinese Special Economic Zones as Clusters A Case Study of Shenzhen’s Modern Service Clusters Master of Science in Business Mastergradsoppgavei bedriftsøkonomi - Høgskolen i Bodø, 2008.

กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเซินเจิ้นกับทางเลือกในการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย, ที่มา https://thaibizchina.com/กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษ, สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2563

Meng Zhou and et.al Zhou, M., Yue, Y., Li, Q., & Wang, D. (2016). “Portraying temporal dynamics of urban spatial divisions with mobile phone positioning data: A complex network approach”. ISPRS International Journal of Geo-Information, 2016 5(12), 240.

Enright, M. J.,“Developing China: The Remarkable Impact of Foreign Direct Investment”. New York: Routledge. 2017.

สาระสังเขปประเด็นการปฏิรูปประเทศไทยด้านเศรษฐกิจ ปี 2557 สำนักวิชาการและสำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ที่มา https://library2.parliament.go.th/giventake/content_nrcinf/nrc2557-issue6-abst01.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563

Zeng,D.Z., “Building Engines for Growth: Building Engines for Growth and Competitiveness in China: Experience with Special Economic Zones and Industrial Clusters”. The International Bank for Reconstruction and Development. The world Bank, 2010.

Zou Erkang, “Special Economic Zone Typifies Open Policy, Chinese Economic Studies” 19:2, pp79-85, 1985.

ที่มา https://www.ceicdata.com/en สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563

กรณีศึกษา: เขตเศรษฐกิจพิเศษกับทางเลือกในการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย ที่มา http://www.wiangphangkham.go.th/images/column_1431354069/158.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2563

พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561, ที่มา https://www.eeco.or.th/sites/default/files/EEC%20ACT%202561.pdf, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2563.

ปนัดดา ภู่หอม, หน่วยวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคในประเทศ ส่วนเศรษฐกิจมหภาค ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจธุรกิจและเศรษฐกิจ “ฐานราก EEC ภาคต่อ Eastern Seaboardก้าวสำคัญการลงทุนไทย”, 2561.

สุทธิเกตติ์ ทัดพิทักษ์กุล “รัฐบาลกับการสนับสนุนระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก” วารสารส่งเสริมการลงทุน สำนักงานคณะกรรมกรส่งเสริมการลงทุน ปีที่ 28 ฉบับที่ 7 กรกฎาคม 2560

สำนักงานคณะกรรมการนโนบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ที่มา https://www.eeco.or.th สืบค้นเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2563

EEC ตัวช่วยสำคัญดัน SME ไทยโต ศูนย์วิจัยกสิกรไทย เมษายน 2561 ที่มา https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/EEC-SME.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2563

วรรณวนัช สว่างแจ้ง “บทความวิทยุกฎหมายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก" ที่มา https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1891 สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2563

นพดล วิยาภรณ และเอกพร รักความสุข การบริหารการพัฒนาโครงการพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ศึกษากรณี: พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก EEC วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2, 2563

ณัชพล จรูญพิพัฒน์กุล, “โครงการ EEC: ความหวังใหม่ในการพลิกฟื้นวัฏจักรการลงทุน” FOCUSED AND QUICK (FAQ) Issue 155, 2561.